ขั้นตอนการค้น
1. เข้าไปที่ www.google.com
2. พิมพ์คำว่า " สนทนา บรรณารักษ์ ออนไลน์ "
3. จะเจอเว็บไซต์ https://www.nstda.or.th/stks/contact-stks.html
ข้อดี
- มีการพัฒนาติดต่อกับทางบรรณรักษณ์ได้สะดวกมากขึ้น อยู่ที่ไหนสามารถส่ง e-mail ได้ เพียงแค่มีอินเตอร์เน็ท
ข้อเสีย
- ติดต่อสื่อสารผ่านทาง e-mail ยังมีความล่าช้า ยังต้องใช้ระยะเวลาในการตอบกลับ
วันพฤหัสบดีที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2561
วันอังคารที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2561
สรุปเรื่อง การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ พร้อมยกตัวอย่าง
การวิเคราะห์สารสนเทศ คือกระบวนการแยกแยะสารสนเทศที่สำคัญและสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ ออกเป็นกลุ่มย่อยๆ หรืออกเป็นส่วนๆ โดยให้สารสนเทศที่มีเนื้อหาเดียวกันอยู่ด้วยกัน
การสังเคราะห์สารสนเทศ คือ การสรุปความสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์แล้วจากทรัพยากรสารสนเทศ 1 รายการ หรือมากกว่า 1 รายการ ที่มีเนื้อหาเดียวกัน คล้ายคลึงกัน หรือเกี่ยวข้องกัน นำมาสรุปให้เป็นประเด็นเดียว ซึ่งเท่ากับเป็นการนำเสนอสารสนเทศ ในรูปลักษณ์ใหม่ด้วยสำนวนภาษาของต้นเอง
ตัวอย่างการวิเคราะห์ เช่น การอ่านหนังสือ หรือบทความต่างๆ แล้ววิเคราะห์ว่าจากการอ่าน มีอะไรที่เป็นส่วนสำคัญ และก็สามารถเเบ่งส่วนความสำคัญของเนื้อหาที่อ่านได้
ตัวอย่างการสังเคราะห์ เช่น การรวบรวมข้อมูลต่างๆที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว มาสังเคราะห์ให้เหลือเพียง 1 เดียวเท่านั้น
การสังเคราะห์สารสนเทศ คือ การสรุปความสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์แล้วจากทรัพยากรสารสนเทศ 1 รายการ หรือมากกว่า 1 รายการ ที่มีเนื้อหาเดียวกัน คล้ายคลึงกัน หรือเกี่ยวข้องกัน นำมาสรุปให้เป็นประเด็นเดียว ซึ่งเท่ากับเป็นการนำเสนอสารสนเทศ ในรูปลักษณ์ใหม่ด้วยสำนวนภาษาของต้นเอง
ตัวอย่างการวิเคราะห์ เช่น การอ่านหนังสือ หรือบทความต่างๆ แล้ววิเคราะห์ว่าจากการอ่าน มีอะไรที่เป็นส่วนสำคัญ และก็สามารถเเบ่งส่วนความสำคัญของเนื้อหาที่อ่านได้
ตัวอย่างการสังเคราะห์ เช่น การรวบรวมข้อมูลต่างๆที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว มาสังเคราะห์ให้เหลือเพียง 1 เดียวเท่านั้น
วันพุธที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2561
บรรณานุกรม
1. พีรวัฒน์ ไตรวัฒนาถาวร และ ภานุวัฒน์ สะมะอุน. (2557). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่ทำการ ไปรษณีย์มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. กรุงเทพฯ: สาขาวิชาสารสนเทศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
2. ชัยทัต จงเป็นสุขเลิศ. (2552). ความเครียดจากการใช้บริการภายในสำนักวิทยบริการและ เทคโนโลยี สารสนเทศของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. กรุงเทพฯ: สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
3. ชัยทัต ธีระพงษ์ สิทธิกร สันติราชย์ และศุภชัย. (2552). ความเครียดจากการใช้บริการภายใน สำนัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม. กรุงเทพฯ: สาขาวิชาสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
2. ชัยทัต จงเป็นสุขเลิศ. (2552). ความเครียดจากการใช้บริการภายในสำนักวิทยบริการและ เทคโนโลยี สารสนเทศของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. กรุงเทพฯ: สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
3. ชัยทัต ธีระพงษ์ สิทธิกร สันติราชย์ และศุภชัย. (2552). ความเครียดจากการใช้บริการภายใน สำนัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม. กรุงเทพฯ: สาขาวิชาสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
วันเสาร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2561
สรุปงาน TK Forum2018 “Creating Better Library: The Unfinished Knowledge”
- เทคโนโลยีเป็นปัจจัยที่เปลี่ยนรูปแบบการเรียนรู้ โดยความคาดหวังของคนรุ่นใหม่คือต้องสามารถเข้าถึง Contents ให้ได้มากที่สุด ทุกที่ ทุกเวลา
- ห้องสมุดได้เปลี่ยนแปลงใหม่ให้หลุดพ้นจากภาพลักษณ์เดิมๆ ด้วยการเพิ่มพื้นที่พบปะมากขึ้น และลดพื้นที่การจัดเก็บทรัพยากร
- มหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ (ในต่างประเทศ) ได้ปรับตัวโดยพยายามให้ชุมชนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้
- Mr.O’Connor ได้มองว่าการจัดสรรพื้นที่ในห้องสมุดก็มีส่วนสำคัญ นั่นคือผู้ใช้ต้องการพื้นที่มากขึ้น แม้ว่าพวกเขาอาจไม่ได้ใช้พื้นที่เหล่านั้นเพื่อการอ่านหรือใช้ทรัพยากรในห้องสมุดเลย
- ได้มีการพัฒนาการอ่านหนังสือแบบเดิมๆ ที่ต้องอ่านแต่ในห้องสมุด ตอนนี้ได้เข้าถึงความรู้ของ TK Park ในรูปแบบดิจิทัล ง่ายๆเพียงแค่สแกน QR Code ก็จะได้หนังสือและสื่อดีๆมาอ่าน ฟัง คิด และอ้างอิง
-ความรู้สึกและความประทับใจที่มีต่อการสัมนาในครั้งนี้ ประทับใจตรงที่มีวิทยากรหลากหลายทั้งไทยและจากต่างประเทศ สำรับคนที่แปลไม่ได้ ก็มีสิ่งอำนวยความสะดวกให้โดยมีคนแปลเป็นไทยให้เราฟังผ่านหุฟังภายในงาน ง่ายและเข้าใจมากขึ้นสำรับคนที่อ่อนภาษา และพนักงานที่พูดจาเรียบร้อย บรรยกาศภายในงานเรียบง่าย อาหารอร่อย
-ข้อคิดเห็น ควรปรับปรุงการใช้งานของหูฟัง ในเรื่องของเสียง ที่มีปันหาเรื่องของเสียงที่ไม่ชัดเจน ควรจะมีการปรับระดับของเสียงให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้นกว่านี้ นอกนั้นโดยรวมถือว่าผ่าน
-การนำไปประยุกต์ในการเรียน/การทำงาน เกี่ยวข้องกับการเรียนโดยตรงในด้านของสาขาวิชาบรรรรักษ์ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ในด้านความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามากขึ้นกว่าเดิม แตกต่างจากการใช้บริการห้องสมุดแบบเดิมๆ ทำให้มีการดึงดูดคนมาใช้บริการมากยิ่งขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้มาพัฒนางานด้านการบริการและทรัพยากรสารสนเทศ รวมถึงด้านสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของห้องสมุดให้น่าสนใจและน่าใช้บริการมากกว่าเดิม
- ห้องสมุดได้เปลี่ยนแปลงใหม่ให้หลุดพ้นจากภาพลักษณ์เดิมๆ ด้วยการเพิ่มพื้นที่พบปะมากขึ้น และลดพื้นที่การจัดเก็บทรัพยากร
- มหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ (ในต่างประเทศ) ได้ปรับตัวโดยพยายามให้ชุมชนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้
- Mr.O’Connor ได้มองว่าการจัดสรรพื้นที่ในห้องสมุดก็มีส่วนสำคัญ นั่นคือผู้ใช้ต้องการพื้นที่มากขึ้น แม้ว่าพวกเขาอาจไม่ได้ใช้พื้นที่เหล่านั้นเพื่อการอ่านหรือใช้ทรัพยากรในห้องสมุดเลย
- ได้มีการพัฒนาการอ่านหนังสือแบบเดิมๆ ที่ต้องอ่านแต่ในห้องสมุด ตอนนี้ได้เข้าถึงความรู้ของ TK Park ในรูปแบบดิจิทัล ง่ายๆเพียงแค่สแกน QR Code ก็จะได้หนังสือและสื่อดีๆมาอ่าน ฟัง คิด และอ้างอิง
-ความรู้สึกและความประทับใจที่มีต่อการสัมนาในครั้งนี้ ประทับใจตรงที่มีวิทยากรหลากหลายทั้งไทยและจากต่างประเทศ สำรับคนที่แปลไม่ได้ ก็มีสิ่งอำนวยความสะดวกให้โดยมีคนแปลเป็นไทยให้เราฟังผ่านหุฟังภายในงาน ง่ายและเข้าใจมากขึ้นสำรับคนที่อ่อนภาษา และพนักงานที่พูดจาเรียบร้อย บรรยกาศภายในงานเรียบง่าย อาหารอร่อย
-ข้อคิดเห็น ควรปรับปรุงการใช้งานของหูฟัง ในเรื่องของเสียง ที่มีปันหาเรื่องของเสียงที่ไม่ชัดเจน ควรจะมีการปรับระดับของเสียงให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้นกว่านี้ นอกนั้นโดยรวมถือว่าผ่าน
-การนำไปประยุกต์ในการเรียน/การทำงาน เกี่ยวข้องกับการเรียนโดยตรงในด้านของสาขาวิชาบรรรรักษ์ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ในด้านความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามากขึ้นกว่าเดิม แตกต่างจากการใช้บริการห้องสมุดแบบเดิมๆ ทำให้มีการดึงดูดคนมาใช้บริการมากยิ่งขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้มาพัฒนางานด้านการบริการและทรัพยากรสารสนเทศ รวมถึงด้านสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของห้องสมุดให้น่าสนใจและน่าใช้บริการมากกว่าเดิม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)